รายงานการประเมินตนเอง (SAR)

  คณะศิลปศาสตร์ได้ดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรโดยการตรวจประเมินการบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดโดย สกอ. (องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานหลักสูตร) และการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) เพื่อเตรียมความพร้อมการขอรับการประเมินคุณภาพการศึกษาตามแนวทางของเกณฑ์ AUN-QA (ASEAN University Network Quality Assurance)

      ในรอบปีการประเมิน พ.ศ. 2561 คณะศิลปศาสตร์ได้จัดทำรายงานการประเมินตนเอง (Self – Assessment Report : SAR) ประจำปีการศึกษา 2560 จำนวน 4 หลักสูตร ผลการประเมินรายงานการประเมินตนเองมีดังนี้

     2.1 หลักสูตรที่ขอรับการพิจารณาความพร้อมของหลักสูตรในการกำหนดรูปแบบการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรตามแนวทางของเกณฑ์ AUN-QA จำนวน  1 หลักสูตร คือ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์ประยุกต์ (หลักสูตรนานาชาติ) ซึ่งผลการพิจารณาจากสำนักงานประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย มีข้อสังเกตดังนี้

ข้อ

เกณฑ์

ข้อสังเกต

1. ความพร้อมของหลักสูตร - หลักสูตรมีการอธิบายการดำเนินงานของหลักสูตรอย่างเป็นกระบวนการตามแนวทาง OBE ที่ผ่านการประเมินตนเองตามแนวทางของ AUN-QA
2. มี ELO ที่ชัดเจน

– ELO ที่กำหนดส่วนใหญ่สามารถสังเกตหรือประเมินผลได้

– มีการแบ่งกลุ่มเป็น Generic Outcomes และ Specific Outcome

3. ทีกระบวนการได้มาซึ่ง ELO - เริ่มมีการนำข้อมูลจากการสำรวจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียบางกลุ่ม ได้แก่ ผู้ใช้บัณฑิต และศิษย์เก่ามากำหนดเป็น ELO
4. มี Constructive Aliment - เริ่มมีกระบวนการสอนและประเมินผลที่สอดคล้องกับ  PLO
5. มีรายงานข้อมูลสำคัญย้อนหลัง 1 ปี - มีการรายงานข้อมูลสำคัญย้อนหลัง 3 ปี ตามตารางในคู่มือ Guide to AUN-QA Assessment at Programme Level version 3.0
6. มีรายงานข้อมูลสำคัญย้อนหลัง 3 ปี

         2.2 หลักสูตรที่ยังไม่ถึงรอบเวลารับการตรวจประเมินมีจำนวน 3 หลักสูตร ได้แก่ หลักสูตรศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาภาษาศาสตร์ประยุกต์ ด้านการสอนภาษาอังกฤษ (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพและนานาชาติ (หลักสูตรนานาชาติ) และหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม ซึ่งผลสะท้อนกลับจากรายงานการประเมินตนเอง (SAR) จากสำนักพัฒนาการศึกษาและบริการของมหาวิทยาลัยมีข้อสังเกตและความเห็นดังนี้  

เกณฑ์การประเมิน

ข้อสังเกต/ความเห็น

ศศ.ม.ภาษาศาสตร์ประยุกต์ ด้านการสอนภาษาอังกฤษ (นานาชาติ)

ศศ.ม.ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในวิชาชีพและนานาชาติ (นานาชาติ)

ศศ.ม.สังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม

  1. หลักสูตรอธิบายกระบวนการได้มาซึ่ง Program Learning outcome (PLO)

– ระบุกลุ่ม Stakeholders ที่สำคัญของหลักสูตร

– อธิบายเหตุผลหรือปัจจัยในการเลือกกลุ่ม Stakeholders ของหลักสูตร

– หลักสูตรแสดงให้เห็นกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหลักสูตร ได้แก่ บัณฑิต ผู้ใช้บัณฑิต ผู้ทรงคุณวุฒิ และอาจารย์ผู้สอนและศิษย์เก่า รวมถึงมีการอธิบายเหตุผลในการเลือกกลุ่ม Stakeholders

 

– หลักสูตรแสดงให้เห็นกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหลักสูตร ได้แก่ บัณฑิต ผู้ใช้บัณฑิต ผู้ทรงคุณวุฒิ และอาจารย์ผู้สอน

– มีการอธิบายเหตุผลในการเลือกกลุ่ม Stakeholders

– หลักสูตรแสดงให้เห็นกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ได้แก่ คณะ/มหาวิทยาลัย ผู้สอนในหลักสูตร บัณฑิตที่จบแล้ว นักศึกษาปัจจุบัน และผู้ใช้บัณฑิต (ภาคธุรกิจ)

– มีการอธิบายเหตุผลในการเลือกกลุ่ม Stakeholders

  1. หลักสูตรอธิบายเครื่องมือ และวิธีการที่ใช้ในการสำรวจ Requirement Stakeholders

– อธิบายเครื่องมือ และวิธีการที่ใช้ในการสำรวจ Requirement Stakeholders

– อธิบายผลการสำรวจ Requirement Stakeholders และแสดงให้เห็นว่าผลการสำรวจ Stakeholders ถูกนำมาใช้ในการอดอกแบบหรือกำหนด PLO อย่างไร

– มีการระบุเครื่องมือและวิธีการที่ใช้ในการสำรวจ Requirement แต่ละกลุ่ม

– มีสรุปผลข้อมูลความต้องการของกลุ่ม Stakeholders และนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการออกแบบรายวิชาในหลักสูตรหรือกำหนด PLO

– มีการระบุเครื่องมือและวิธีการที่ใช้ในการสำรวจ Requirement แต่ละกลุ่ม

– มีสรุปผลข้อมูลความต้องการของกลุ่ม Stakeholders และนำข้อมูลไปใช้ในกระบวนการออกแบบหรือกำหนด PLO

- มีการระบุเครื่องมือและวิธีการที่ใช้ในการสำรวจ Requirement ในแต่ละกลุ่มอย่างชัดเจนและเป็นรูปธรรม มีการนำผลการสำรวจ Requirement Stakeholders ที่ได้ไปในกระบวนการออกแบบรายวิชาในหลักสูตรหรือกำหนด PLO
  1. 3. หลักสูตรอธิบายวิธีการได้มาของผลการเรียนที่คาดหวังของหลักสูตรที่มีความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ ปรัชญาการศึกษา พันธกิจของมหาวิทยาลัยฯ และสภาวิชาชีพ (ถ้ามี) ตามบริบทของคณะ ภาควิชา หรือสาขาวิชา

– มีการแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง PLO กับ KMUTT SQF และ TQF

 

– มีการแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง PLO กับ KMUTT SQF และ TQF

– ควรแสดงให้เห็นถึงปรัญชาของหลักสูตรวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และไม่ได้อธิบายความสอดคล้อง

– มีการแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง PLO กับ KMUTT SQF และ TQF

 

  1. 4. หลักสูตรระบุผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง (Program Learning Outcome: PLO) และแบ่งกลุ่ม Generic Outcome และ/หรือ Specific Outcome
- มีการแบ่งกลุ่ม PLO เป็น Generic Outcome และ Specific Outcome - พบ PLO ในรายงาน SAR มีการแบ่งกลุ่ม PLO เป็น Generic Outcome และ/หรือ Specific Outcome - มีการแบ่งกลุ่ม PLO เป็น Generic Outcome และ Specific Outcome
  1. 5. หลักสูตรแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง PLO และ รายวิชา Curriculum Mapping อธิบายความเชื่อมโยงของรายวิชาในหลักสูตรที่สัมพันธ์กับ PLO
 – แสดงการกระจายรายวิชาในหลักสูตร (Curriculum Mapping) ที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรกับผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา - แสดงการกระจายรายวิชาในหลักสูตร (Curriculum Mapping) ที่แสดงการเชื่อมโยงรายวิชา - แสดงการกระจายรายวิชาในหลักสูตร (Curriculum Mapping) ที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่างผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรกับผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา
  1. 6. วิธีการสอน กิจกรรมการเรียนรู้ (Pedagogy + Learning activity) และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา (Assessment method)
- มีการระบุกลยุทธ์การสอนและกลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละผลลัพธ์การเรียนรู้

– มีการระบุกลยุทธ์การสอนในภาพรวมระดับ PLO

– มีการกำหนดแนวทางการประเมินพร้อม Rubric ในแต่ละ PLO

– มีเกณฑ์วัดนักศึกษาในการรับเข้าเป็นนักศึกษา

- มีการระบุกลยุทธ์การสอนและกลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ในแต่ละผลลัพธ์การเรียนรู้
  1. 7. มีแผนการบริหารจัดการหลักสูตรหรือแผนพัฒนาหลักสูตร
- พบแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรตามแนวทาง OBE เช่น การวิเคราะห์ achieve learning outcome การศึกษาประสิทธิภาพของการใช้ assessment tools เป็นต้น

– ยังไม่มีแผนการพัฒนาหลักสูตร การประกันคุณภาพ และอย่างชัดเจน

– มีการระบุสิ่งที่ต้องดำเนินการในเกณฑ์แต่ละข้อ แต่ยังไม่เป็นภาพรวมของการดำเนินการทั้งหลักสูตร

- พบแผนการพัฒนาหลักสูตรที่เกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร เช่น จัดหลักสูตรบรมให้กับบุคคลภายนอกในภาคอุตสาหกรรม/รัฐ เพื่อเพิ่ม visibility ของหลักสูตร มีการปรับรายวิชาในหลักสูตรเป็น module-based เพื่อสามารถรับบุคคลภายนอกเข้าเรียนได้ เป็นต้น แต่ยังไม่เห็นการพัฒนาหลักสูตรตามแนวทาง OBE อย่างชัดเจน