AUN-6 คุณภาพบุคลากรสายวิชาการ (Academic staff Quality)


AUN-1 AUN-2 AUN-3 AUN-4 AUN-5 AUN-6 AUN-7 AUN-8 AUN-9 AUN-10 AUN-11

ผลการประเมินตนเอง

6

6.1 Academic staff planning (considering succession, promotion, re-deployment, termination, and retirement) is carried out to fulfil the needs for education, research and service
     คณะศิลปศาสตร์มีการบริหารจัดการแบบรวมศูนย์บริการประสานบริหาร ดังนั้น การพัฒนาบุคลากรวางแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการระดับหลักสูตร จึงเป็นการวางแผนพัฒนาบุคลากรในภาพรวมของคณะฯ และเป็นไปตามระเบียบการบริหารงานบุคคลของมหาวิทยาลัย เช่น การมุ่งสนับสนุนและส่งเสริมบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนให้ได้รับการเพิ่มพูนความรู้และสร้างประสบการณ์ ตลอดจนพัฒนาทักษะในวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง การเลื่อนระดับพนักงาน การประเมินเลื่อนขั้นเงินเดือน เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีการวิเคราะห์อัตรากำลังคนคณะศิลปศาสตร์ ปี 2555-2560 และวิเคราะห์อัตราผู้เกษียณอายุของบุคลากรประจำ คณะศิลปศาสตร์ เพื่อใช้ในการบริหารงานทรัพยากรบุคคลของคณะฯ

6.2 Staff-to-student ratio and workload are measured and monitored to improve the quality of education, research and service
          ในปีการศึกษา 2559 หลักสูตร ELT มีอาจารย์ประจำทั้งหมดจำนวน 17 คน มีนักศึกษารวมทั้งหมด 60 คน คิดเป็นสัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษา เท่ากับ 1: 3.5 คน  ในด้านภาระงานของบุคลากรสายวิชาการ มีการกำหนดกรอบภาระงานที่ได้รับมอบหมายจำนวน  5 ด้าน ได้แก่ 1) การสอน 2) งานวิชาการ 3) งานบริหาร 4) งานบริการอื่นๆ 5) งานหาทรัพยากร ซึ่งมีการประเมินปีละ 2 ครั้ง เพื่อใช้สำหรับการประเมินเลื่อนขั้นเงินเดือน (My Evaluation)

6.3 Recruitment and selection criteria including ethics and academic freedom for appointment, deployment and promotion are determined and communicated
     เป็นไปตามกฎของมหาวิทยาลัย

6.4 Competences of academic staff are identified and evaluated
      มีการประเมินอาจารย์ผู้สอน จากการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและการสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชาและดำเนินการทุกภาคการศึกษาผ่านระบบ Student Evaluation ซึ่งเป็นระบบฐานข้อมูลของทางมหาวิทยาลัย

6.5 Training and developmental needs of academic staff are identified and activities are implemented to fulfil them
      มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนนำความรู้ที่ได้จากการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานมาใช้ในการพัฒนาการปฏิบัติงานของบุคลากร ทั้งนี้ คณะฯ ได้มอบหมายให้หน่วยงานและสายวิชามีการติดตามดูแลการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในสังกัด จากการเข้าร่วมกิจกรรมที่บุคลากรได้รับการพัฒนาทักษะและศักยภาพ เช่น การอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน เพื่อเพิ่มพูนความรู้และพัฒนาทักษะของบุคลากรในการปฏิบัติงาน ทั้งนี้คณะฯ ได้กำหนดค่าเป้าหมาย = 5 วัน/คน/ปีให้บุคลากรที่เข้ารับการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงาน ได้จัดทำรายงานการอบรม/สัมมนา/ศึกษาดูงานเสนอต่อหัวหน้าหน่วยงาน/ประธานสายวิชาฯ ผ่านคณบดีคณะศิลปศาสตร์ เพื่อรับทราบและให้ความเห็นในการนำความรู้ที่ได้รับจากการพัฒนาไปใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน   การวัดผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ตลอดจนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง

หลักสูตร จำนวนบุคลากร/อาจารย์ประจำที่ได้รับการพัฒนาเพิ่มพูนความรู้
(ร้อยละ)
(4)
จำนวนวันที่เข้ารับการอบรม
(ภายใน
ประเทศ(5)
จำนวนวันที่เข้ารับการอบรม
(ต่าง
ประเทศ(6)

รวมจำนวนวันที่เข้ารับการอบรม

(7)

ค่าเฉลี่ยการเข้ารับการอบรมต่อวัน/คน/ปี

(8)

อาจารย์ประจำ

(1)

หลักสูตร ELT 17 14
(82.35)
132 52 184 10.82
หลักสูตร EPC 9 9
(100)
74 21 95 10.56
หลักสูตร ESS 7 7
(100)
94.5 70 164.5 23.50
หลักสูตร Ph.D. 15 14
(93.33)
135.5 62 197.5 13.17
รวม 46 42
(91.30)
436 205 641 13.35

6.6 Performance management including rewards and recognition is implemented to motivate and support education, research and service
     หลักสูตร มีการใช้สวัสดิการต่างๆ ที่มหาวิทยาลัยจัดให้บริการ  อย่างไรก็ดี คณะฯ ยังมีนโยบายที่สนับสนุนและส่งเสริมงานด้านการวิจัย โดยมอบหมายให้ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ (CRS) ทำหน้าที่ดูแลรับผิดชอบภาระงานดังกล่าว ซึ่งอาจารย์ประจำหลักสูตรสามารถขอทุนวิจัยและทุนการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการได้จากศูนย์ CRS

6.7 The types and quantity of research activities by academic staff are established, monitored and benchmarked for improvement
      อาจารย์ประจำหลักสูตร ELT มีผลงานการตีพิมพ์เผยแพร่อย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ในปี 2557-2559 คณะศิลปศาสตร์มีผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ของอาจารย์ประจำหลักสูตร ดังนี้

หลักสูตร

ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ของอาจารย์ประจำหลักสูตร

ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
NC IC NJ IJ etc Total NC IC NJ IJ etc Total NC IC NJ IJ etc Total
ELT - 5.50 7.50 1.50 0.50 15 2 12 - 1.30 3.10 18.40 - 4.50 5.5 1 2 12
EPC - 3.50 - 1 - 4.50 - 3.50 - 1.30 0.50 5.33 - - 1.5 0.5 - 2
ESS 2 4 - 4 - 10 1 3 - - - 4 7 3 2 3 - 15
PhD - 9 1.50 1.50 0.50 12.50 - 1.30 - 1.30 2.40 4.75 - 4.50 - 3.5 1 9

– National Conference (NC)
– International Conference (IC)
– National Journal (NJ)
– International Journal (IJ)
– etc. (Book, Poster, Presentation, Other…)

หลัก

สูตร

ค่าน้ำหนักตีพิมพ์เผยแพร่ของอาจารย์ประจำหลักสูตร
ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
NC IC NJ IJ etc Total NC IC NJ IJ etc Total NC IC NJ IJ etc Total
ELT - 2.2 3.00 1.2 0.05 6.45 0.4 4.8 - 1.06 0.31 6.57 - 1.8 2.20 0.8 0.1 4.90
EPC - 1.4 - 0.8 - 2.20 - 1.4 - 1.06 0.05 2.51 - - 0.60 0.40 - 1.00
ESS 0.4 1.6 - 3.2 - 5.20 0.2 1.2 - - - 1.40 1.40 1.20 0.8 2.4 - 5.80
PhD - 3.6 0.6 1.2 0.05 5.45 - 0.4 - 1.06 0.24 1.71 - 1.8 - 2.80 0.1 4.70
หลักสูตร

จำนวนอาจารย์ประจำ

ปีการศึกษา 2559

ค่าน้ำหนักผลงานตีพิมพ์เผยแพร่ของอาจารย์ประจำ

คณะศิลปศาสตร์

ร้อยละของค่าน้ำหนักของผลงานต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
ELT 17 4.90 28.82
EPC 9 1.00 11.11
ESS 7 5.80 82.86
PhD 15 4.70 31.33
หลักสูตร ร้อยละของค่าน้ำหนักของผลงานต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559
ELT 12.63 56 28.82
EPC 40 47.27 11.11
ESS 185.71 30.77 82.86
PhD 111.11 44.70 31.33
เอกสารอ้างอิง