AUN-1 AUN-2 AUN-3 AUN-4 AUN-5 AUN-6 AUN-7 AUN-8 AUN-9 AUN-10 AUN-11
ผลการประเมินตนเอง
11.1 The pass rates and dropout rates are established, monitored and benchmarked for improvement
ข้อมูล pass rates และ dropout rates มีอัตราดังนี้ คือ
MA ELT Weekday
Academic year | Size cohort | % of completed first degree in | % dropout during | General | ||||
2 years | 3 years | >3 years | 1 years | 2 years | 3rd years&Beyond | |||
2557 | 11 | 1 | 3 | 1 | 6 | |||
2558 | 7 | 5 | 1 | 1 | ||||
2559 | 8 | 8 |
MA ELT Weekend
Academic year | Size cohort | % of completed first degree in | % dropout during | General | ||||
2 years | 3 years | >3 years | 1 years | 2 years | 3rd years&Beyond | |||
2557 | 11 | 3 | 3 | 3 | 2 | |||
2558 | 17 | 1 | 1 | 15 | ||||
2559 | 15 | 1 | 14 |
จำนวนและร้อยละของนักศึกษาที่สอบผ่านตามแผนการศึกษาของหลักสูตร ปีการศึกษา 2557 – 2559
ปีการศึกษา 2557
ปีการศึกษา | จำนวนนักศึกษาทั้งหมด | จำนวนนักศึกษาที่สอบผ่านตามแผน | ร้อยละ |
หลักสูตรปกติ | |||
1/2557 (ปี 1) | 11 | 11 | 100 |
1/2556 (ปี 2) | 5 | 5 | 100 |
ตกค้าง | 8 | 8 | 100 |
รวม | 24 | 24 | 100 |
สำเร็จการศึกษา | 4 | 3.076 (คำนวณจากจำนวนนักศึกษาปี 2 และนักศึกษาตกค้าง) |
ปีการศึกษา | จำนวนนักศึกษาทั้งหมด | จำนวนนักศึกษาที่สอบผ่านตามแผน | ร้อยละ |
หลักสูตรพิเศษ (เสาร์-อาทิตย์) | |||
2/2557 (ปี 1) | 11 | 9 (ลาออก 2 คน) | 81.81 |
2/2556 (ปี 2) | 6 | 6 | 100 |
ตกค้าง | 13 | 13 | 100 |
รวม | 30 | 28 | 91.66 |
สำเร็จการศึกษา | 3 | 23.07 (คำนวณจากจำนวนนักศึกษาตกค้าง) |
ปีการศึกษา 2558
ปีการศึกษา | จำนวนนักศึกษาทั้งหมด | จำนวนนักศึกษาที่สอบผ่านตามแผน | ร้อยละ |
หลักสูตรปกติ | |||
1/2558 (ปี 1) | 7 | 6 (ลาออก 1 คน) | 85.71 |
1/2557 (ปี 2) | 11 | 11 | 100 |
ตกค้าง | 11 | 11 | 100 |
รวม | 29 | 28 | 96.55 |
สำเร็จการศึกษา | 10 | 45.45 (คำนวณจากจำนวนนักศึกษาปี 2 และนักศึกษาตกค้าง) |
ปีการศึกษา | จำนวนนักศึกษาทั้งหมด | จำนวนนักศึกษาที่สอบผ่านตามแผน | ร้อยละ |
หลักสูตรพิเศษ (เสาร์-อาทิตย์) | |||
2/2558 (ปี 1) | 16 | 15 (ลาออก 1 คน) | 93.75 |
2/2557 (ปี 2) | 8 | 8 | 100 |
ตกค้าง | 16 | 14 (คัดชื่อออก 2) | 87.50 |
รวม | 40 | 37 | 92.50 |
สำเร็จการศึกษา | 12 | 75 (คำนวณจากจำนวนนักศึกษาตกค้าง) |
ปีการศึกษา 2559
ปีการศึกษา | จำนวนนักศึกษาทั้งหมด | จำนวนนักศึกษาที่สอบผ่านตามแผน | ร้อยละ |
หลักสูตรปกติ | |||
1/2559 (ปี 1) | 8 | 8 | 100 |
1/2558 (ปี 2) | 6 | 6 | 100 |
ตกค้าง | 9 | 9 | 100 |
รวม | 23 | 23 | 100 |
สำเร็จการศึกษา | 8 | 53.33 (คำนวณจากจำนวนนักศึกษาปี 2 และนักศึกษาตกค้าง) |
ปีการศึกษา | จำนวนนักศึกษาทั้งหมด | จำนวนนักศึกษาที่สอบผ่านตามแผน | ร้อยละ |
หลักสูตรพิเศษ (เสาร์-อาทิตย์) | |||
2/2559 (ปี 1) | 15 | 15 | 100 |
2/2558 (ปี 2) | 15 | 15 | 100 |
ตกค้าง | 7 | 7 | 100 |
รวม | 37 | 37 | 100 |
สำเร็จการศึกษา | 7 | 100 (คำนวณจากจำนวนนักศึกษาตกค้าง) |
11.2 The average time to graduate is established, monitored and benchmarked for improvement
ระยะเวลาเฉลี่ยของการสำเร็จการศึกษาเป็นที่น่าพอใจ โดยเฉลี่ยหากนักศึกษาเลือกศึกษาในแผน ข โดยเลือกทำการค้นคว้าอิสระ (3 หน่วยกิต) หรือ สาระนิพนธ์ (6 หน่วยกิต) จะสามารถสำเร็จการศึกษาได้ภายในเวลา 2-3 ปี แต่ถ้าหากเลือกทำวิทยานิพนธ์ (12 หน่วยกิต) จะสำเร็จได้โดยใช้เวลาเฉลี่ยประมาณที่ 3-4 ปี
11.3 Employability of graduates is established, monitored and benchmarked for improvement
จากผลการสำรวจพบว่าอัตราการได้งานของผู้สำเร็จการศึกษาเป็นที่น่าพอใจ สายวิชาได้ทำการสำรวจอัตราการได้งานของผู้สำเร็จการศึกษาเป็นที่น่าพอใจ โดยในเดือนเมษายน 2557 ได้ส่งแบบสอบถามไปที่บัณฑิตจำนวน 22 คน จำนวนแบบสอบถามที่ส่งกลับ 22 คนโดยคิดเป็นร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม 100% สามารถแสดงการกระจายภาวะการได้งานทำเทียบกับจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม
การได้งานทำ | ได้งานทำแล้ว | ไม่ประสงค์จะทำงาน | ยังไม่ได้ทำงาน | ||
ตรงสาขาทีเรียน | ไม่ตรงสาขาที่เรียน | ศึกษาต่อ | สาเหตุอื่น | ||
จำนวน | 14 | 8 | - | - | - |
ร้อยละของผู้ตอบกลับ | 63.63 | 36.36 | - | - | - |
ในเดือน เมษายน 2558 ได้ส่งจำนวนแบบสอบถามไปที่ผู้สำเร็จการศึกษาจำนวน 6 คน จำนวนแบบสอบถามที่ส่งกลับ คือ 6 คน คิดเป็นร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม 100% และสามารถแสดงการกระจายภาวะการได้งานทำเทียบกับจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม
การได้งานทำ | ได้งานทำแล้ว | ไม่ประสงค์จะทำงาน | ยังไม่ได้ทำงาน | ||
ตรงสาขาทีเรียน | ไม่ตรงสาขาที่เรียน | ศึกษาต่อ | สาเหตุอื่น | ||
จำนวน | 4 | - | - | 1 | 1 |
ร้อยละของผู้ตอบกลับ | 66.66 | - | - | 16.66 | 16.66 |
ครั้งล่าสุดในเดือน มิถุนายน 2559 ได้ส่งจำนวนแบบสอบถามไปที่ผู้สำเร็จการศึกษาจำนวน 16 คน จำนวนแบบสอบถามที่ส่งกลับ คือ 16 คน คิดเป็นร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม 100% และสามารถแสดงการกระจายภาวะการได้งานทำเทียบกับจำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม
การได้งานทำ | ได้งานทำแล้ว | ไม่ประสงค์จะทำงาน | ยังไม่ได้ทำงาน | ||
ตรงสาขาทีเรียน | ไม่ตรงสาขาที่เรียน | ศึกษาต่อ | สาเหตุอื่น | ||
จำนวน | 9 | - | - | - | 7 |
ร้อยละของผู้ตอบกลับ | 56.25 | - | - | 43.75 |
11.4 The types and quantity of research activities by students are established, monitored and benchmarked for improvement
ระดับงานวิจัยของอาจารย์และผู้เรียนเป็นที่น่าพอใจ
Publicized Work in 2014
Journals:
- Srimongkontip, S. and Wiriyakarun, P., Measuring Vocabulary Size and Vocabulary Depth of Secondary Education Students in a Thai-English Bilingual School, วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (Journal of Liberal Arts, Ubon Ratchathani University), ปีที่ 10, ฉบับที่ 2, 2557, หน้า 181 – 209.
- Cherngchawano, W. and Jaturapitakkul, N., Lexical Profiles of Thailand University Admission Tests, PASAA, Volume 48, July – December 2014, pp. 1 – 28.
- Winitkun, D. and Kongchan, C., A Case Study on Perceived Problems in the Student Teacher’s Spoken Classroom Language through Supervisor’s Feedback, rEFLections, Volume 17, No. 1, February 2014, pp. 25 – 40.
- Thepsiri, K. and Boonkhaos, K., How Collaborative is Collaborative Group Work? A Case Study of Thai Undergraduate University Students Group Task, The New English Teacher, Volume 8.1, January 2014, pp. 102 – 120.
Proceedings:
- Chaiyasook, W. and Jaroongkhongdach, W., A Content Analysis of Thai Master’s Theses in ELT from 2003 to 2011, Proceedings of the International Conference on Doing Research in Applied Linguistics 2 / Independent Learning Association Conference 2014, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Bangkok, 12 – 14 June 2014, pp. 64 – 74.
- Kongkerd, K. and Tepsuriwong, S., The Use of Display and Referential Questions in a Reading Lesson, Proceedings of the 12th International Conference on Developing Real-Life Learning Experience: Changing Education Paradigms in ASEAN (DRLE2014), King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang, Bangkok, 9 May 2014, pp. P20-1 – 9.
- Pookerdpim, T. and Tepsuriwong, S., Teachers’ Feedback and Interpretations of Evaluation Criteria, Proceedings of the 4th UBRU International Research Conference (UBRUIRC2014), Ubon Ratchathani Rajabhat University, Ubon Ratchathani, 12 – 14 March 2014, pp. 503 – 515.
- Siripak, T. and Thepsiri, K., 2014. A Comparison of English-Thai Translation Products of a Professional Translator and Novice Translators, Proceedings of the 5th International Conference on Language and Communication “Innovative Inquiries and Emerging Paradigms in Language, Media and Communication”, The National Institute of Development Administration, Bangkok, 12 – 13 December 2013, pp. 442 – 456.
Publicized Work in 2015
Journal:
- Jarusrose C. and Singhasiri, W. (2015) Novice Teacher’s Learning through a Project-Based Learning Class. rEFLections, 19, January-June, 17-37.
- Dathumma, C. and Singhasiri, W. (2015) Students’ Perceptions towards Teacher Feedback on Google Docs. rEFLections, 19, January-June, 17-37.
- Santos Esguerra, R. and Wanphet, P. (2015) Emergent Vocabulary in Second Language Conversations among Learners. Language and Dialogue, Volume 5, Isuue 2, 2015, pp. 283 – 299.
- Srisopa, R. and Saeng-sri. (2015) Perceived Self-Efficacy of Thai Secondary School English Teachers. rEFLections, 20, July-December, 18-29.
- Wattananan, P. and Tepsuriwong, S. (2015) Students’ Intuition-Based Self-Efficacy and Evidence-Based Self-Efficacy. rEFLections, 20, July-December, 1-17.
Proceedings:
- Ninbanharn, A. and Zilli, J. P. (2015) Linguistic Landscape of Two Language Schools in Bangkok. Proceedings of the 6th International Conference on Language and Communication “Language, Media, and Development in East and South-East Asia” (ICLC 2014), National Institute of Development Administration, Bangkok, Thailand, 21 – 22 August 2014, pp. 20 – 45.
- Anongchanya, E. and Boonmoh, A. (2015) The Effectiveness of the Use of Dictionary Applications in Smartphones in Reading an English-Language Passage and Writing a Summary in Thai. Proceedings of the 2nd International Conference on Language, Literature, and Cultural Studies – ICLLCS (pp. 48-57). 20 – 24 August, Thailand: A-ONE The Royal Cruise Hotel, Chonburi.
- Tangamornsuksa, A. and Boonmoh, A. (2015) Note Taking Strategies Used by Post Graduate Students at King Mongkut’s University Technology Thonburi (KMUTT). Proceedings การประชุมวิชาการระดับชาติทางศิลปศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 5 (The 5th National Conference on Applied Arts: NCAA 2015), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ, 4 มิถุนายน 2558, หน้า 8 – 15.
- Okojie, D. and Yaoharee, O. (2015) Teachers’ Beliefs and Teachers’ Strategies for Internationalizing the Primary Classrooms in Thai School Context. Proceedings การประชุมวิชาการระดับชาติทางศิลปศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 5 (The 5th National Conference on Applied Arts: NCAA2015), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ, 4 มิถุนายน 2558, หน้า 1 – 7
ข้อมูลผลงานตีพิมพ์เผยแพร่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศิลปศาสตร์ ปีการศึกษา 2559
วารสารระดับนานาชาติ (International Journal) ค่าน้ำหนัก = 0.8 /เรื่อง
ลำดับ | ชื่อผลงาน | ผู้วิจัย/ผู้เขียน | ระดับการศึกษา/หลักสูตร | รายละเอียดการเผยแพร่ |
1 | Business Discourse Patterns in an ELF Setting between Thai and Burmese Professionals | Ms. Tabtip Kanchanapoomi Asst. Prof. Dr. Wannapa Trakulkasemsuk Assoc. Prof. Sonthida Keyuravong |
ปริญญาเอก | (2016). Southeast Asia: A Multidisciplinary Journal,16, pp. 1-16. |
2 | Investigating Models for Second Language Spelling | Mr. Thomas G. Hamilton Assoc. Prof. Dr. Richard Watson Todd |
ปริญญาเอก | (2016). International Journal of Applied Linguistics, 167(1), 16-45. |
3 | Teacher Trainers’ Beliefs About Feedback on Teaching Practice: Negotiating the Tensions Between Authoritativeness and Dialogic Space | Mr. Stephen Louw Assoc. Prof. Dr. Richard Watson Todd Asst. Prof. Dr. Pattamawan Jimarkon Zilli |
ปริญญาเอก | (2016). Applied Linguistics, 37(6), December, 746-764. |
4 | Formulaic Sequences Used by Native English Speaking Teachers in a Thai Primary School | Ms. Sunee Steyn Dr. Woravut Jarrongkhongdach |
ปริญญาโท(ELT) | (2016). PASAA, 52, July-December, 105-132. |
วารสารระดับชาติ (National Journal) ค่าน้ำหนัก = 0.4 /เรื่อง
ลำดับ | ชื่อผลงาน | ผู้วิจัย/ผู้เขียน | ระดับการศึกษา/หลักสูตร | รายละเอียดการเผยแพร่ |
1 | A Move Analysis of Research Discussion Section in English Articles Published in Thai and International Journals | Mr. Jirawat Sithlaothavorn Asst. Prof. Dr. Wannapa Trakulkasemsuk |
ปริญญาโท(EPC) | (2016). rEFLections, 21, January – June, 24-46. |
2 | Cohesion in Narrative Essay Writing of EFL Secondary Students in Thailand | Mr. Peerakorn Singchai Asst. Prof. Dr. Natjiree Jaturapitakkul |
ปริญญาโท(ELT) | (2016). New English Teacher, 10(2), August, 89-111. |
3 | The Use of Vocabulary Learning Strategies by Thai EFL Learners Studying Vietnamese as a Third Language | Mr. Thanh Duy Vo Asst. Prof. Dr. Natjiree Jaturapitakkul |
ปริญญาโท(ELT) | (2016). LEARN Journal: Language Education and Acquisition Research Network, 9(2), 105-121. |
4 | Students’ Prerceptions about their Self-Study Experience | Ms. Wannapa Jenwitthayayot Asst. Prof. Dr. Saowaluck Tepsuriwong |
ปริญญาโท(ELT) | (2016). rEFLections, 21, January – June, 55-75. |
5 | Teacher Use of Acts in Activity Transitions | Mr. Wichanon Phongjit Asst. Prof. Wilaksana Srimavin |
ปริญญาโท(ELT) | (2016). rEFLections, 21, January – June, 76-92. |
6 | The Nature of Vocabulary Repetition in Graded Readers | Ms. Rungthip Kumkaew Asst. Prof. Dr. Saowaluck Tepsuriwong |
ปริญญาโท(ELT) | (2016). Thoughts, 2, 43-58. |
การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (International Conference) ค่าน้ำหนัก = 0.4 /เรื่อง
ลำดับ | ชื่อผลงาน | ผู้วิจัย/ผู้เขียน | ระดับการศึกษา/หลักสูต | รายละเอียดการเผยแพร่ |
1 | Perception of English as a Foreign Language Teacher at an Academic Institution of Thai Higher Education toward their Teaching Styles | Ms. Thanatcha Thongsuwan Dr. Phanitphim Sojisirikul |
ปริญญาโท(ELT) | (2016). Proceedings from DRLE2016: The 14th International Conference on Developing Real-Life Learning Experiences “STEM Education and Lifelong Learning Skills in the 21st Century” (pp. EL01: 1-19). 17 June, Thailand: King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL), Bangkok. |
2 | The Use of Self-regulated Learning Strategies by Science and Technology Students in English Language Learning Contexts | Ms. Piyarat Pipattarasakul Asst. Prof. Dr. Wareesiri Singhasiri |
ปริญญาเอก | (2016). Proceedings from DRLE2016: The 14th International Conference on Developing Real-Life Learning Experiences “STEM Education and Lifelong Learning Skills in the 21st Century” (pp. EL04 – 1-10), 17 June, Thailand: King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (KMITL), Bangkok. |
3 | The Resistance Process of Local Community Strives against Phraek Sa Landfill Management: Case Study of Phraek Sa Landfill, Samutprakan Province | Dr. Passanan Assavarak Miss Phailin Klaching Asst. Prof. Dr. Riruengrong Ratanavilaisakul Asst. Prof. Dr. Jaruwan Chontanawat Asst. Prof. Wipawee Iemworamate Asst. Prof. Dr. Surapong Chudech Aj. Siriphan Nansunanon |
ปริญญาโท(ESS)
|
(2016). Proceedings from Suratthani Rajabhat University International Conference “Facilitating Autonomous Learning via Research-Based Approaches (FCAL)” (pp. 168-174). 27 – 28 October 2016, Thailand: Suratthani Rajabhat University, Suratthani. |
4 | Keywords as a Clue to Disciplinary Identities in the Discussion Sections of Research Articles | Ms. Punjaporn Pojanapunya Assoc. Prof. Dr. Richard Watson Todd |
ปริญญาเอก | (2016). Proceedings from RtICELT: 1st RMUTT International Conference on English Language Teaching 2016 “Diversity and Identity” (pp. 201-217). 14 May 2016, Thailand: Rajamangla University of Technology Thanyaburi (RMUTT), Pathum Thani. |
5 | Home Language or Standard Thai: A Study of Code-switching Functions in a Rural Primary Classroom in Thailand | Mrs. Rattima Thanyathamrongkul Asst. Prof. Dr. Wareesiri SinghasiriAssoc. Prof. Sonthida Keyuravong |
ปริญญาเอก | (2016). Proceedings from ICER2016: the 9th International Conference on Educational Research (pp. 658-669). 12 – 13 November 2016, Thailand: Khon Kaen University, Khon Kaen. |
6 | Investigating Self-regulated Learning Strategies of EFL Science and Engineering Learners through the S2R Model | Ms. Piyarat Pipattarasakul Asst. Prof. Dr. Wareesiri Singhasiri |
ปริญญาเอก | (2016). Proceedings from ICER2016: the 9th International Conference on Educational Research (pp. 623-633). 12 – 13 November 2016, Thailand: Khon Kaen University, Khon Kaen. |
7 | Students’ Perception towards Integration of a Facebook Group and Peer Feedback in a Writing Course | Mr. Jaturong Watthanamethanee Asst. Prof. Dr. Atipat Boonmoh |
ปริญญาโท(ELT) |
(2016). Proceedings from ICELS2016: the 1st International Conference on English Language Studies (pp. 288-302). 29 – 30 August 2016, Thailand: Mahasarakham University, Maha Sarakham.
|
8 | Student Teachers’ Perception of Co-teaching through Reflections | Ms. Krittiya Peerphayak Dr. Kitcha Thepsiri |
ปริญญาโท(ELT) | (2016). Proceedings from ICELS2016: the 1st International Conference on English Language Studies (pp. 214-233). 29 – 30 August 2016, Thailand: Mahasarakham University, Maha Sarakham. |
9 | An Analysis of EFL Learnings’ Errors in Business Emails | Ms. Anong Visesvong Dr. Ornkanya Yaoharee |
ปริญญาโท(ELT) | (2016). Proceedings from ICELS2016: the 1st International Conference on English Language Studies (pp. 324-332). 29 – 30 August 2016, Thailand: Mahasarakham University, Maha Sarakham. |
นำเสนอในการประชุมวิชาการ (Presentation in Conference) ค่าน้ำหนัก = 0.1 /เรื่อง
ลำดับ | ชื่อผลงาน | ผู้วิจัย/ผู้เขียน | รายละเอียดการเผยแพร่ | |
1 |
Teaching L2 Pragmatics to Adult Learners through Online Learning | Ms. Sasi Kaewthai Dr. Ornkanya Yaoharee |
ปริญญาโท(ELT) | 2016 International Conference on Applied Linguistics and Language Teaching: ALLT, National Taiwan University of Acience and Technology, Taiwan (R.O.C.), 15 – 16 April 2016. |
สรุปภาพรวมข้อมูลผลงานตีพิมพ์เผยแพร่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศิลปศาสตร์ ปีการศึกษา 2559
หลักสูตร | จำนวนนักศึกษา สำเร็จการศึกษา |
Internat- ional Conference x 0.4 (ค่าน้ำหนักของผลงาน) |
National Conference x 0.2 (ค่าน้ำหนักของผลงาน) |
International Journal x 0.8 (ค่าน้ำหนักของผลงาน) |
National Journal x 0.4 (ค่าน้ำหนักของผลงาน) |
Etc. (Presentation) x 0.1 (ค่าน้ำหนักของผลงาน) |
รวม จำนวนผลงาน (ค่าน้ำหนักของผลงาน) |
ร้อยละของค่าน้ำหนักของผลงานต่อจำนวนผู้สำเร็จการศึกษา |
ELT | 15 | 4 คน = 1.60 |
0 | 1 คน = 0.80 | 5 คน = 2.00 |
1 คน = 0.10 | 11 คน = 4.50 |
30 |
EPC | 3 | 0 | 0 | 0 | 1 คน = 0.40 | 0 | 1 คน = 0.40 |
14 |
Ph.D. | 3 | 4 คน = 1.60 |
0 | 3 คน = 2.40 | 0 | 0 | 7 คน = 4.00 | 134 |
ESS | 0 | 1 คน = 0.40 |
0 | 0 | 0 | 0 | 1 คน = 0.40 | 0 |
รวม (ค่าน้ำหนัก) |
21 | 9 คน = 3.60 |
0 | 4 คน = 3.20 | 6 คน = 2.40 |
1 คน = 0.10 | 20 คน = 9.30 | 45 |
11.5 The satisfaction levels of stakeholders are established, monitored and benchmarked for improvement
11.5.1 ความพึงพอใจของผู้สำเร็จการศึกษา ในปี พ.ศ 2559
ได้มีการทำการสำรวจ ความพึงพอใจของผู้สำเร็จการศึกษา จำนวน 11 จากภาคปกติ และ 4 คนจากภาคพิเศษ โดยใช้แบบสอบถาม และสามารถสรุปผลได้ดังนี้ โดยภาพรวมนักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก คือ หลักสูตรปกติ (4.50) หลักสูตรภาคพิเศษ (4.21) โดยมีจุดเด่นดังต่อไปนี้ คือ
1.1 Curriculum and courses
1.2 Course contents and work requirements
1.3 Teaching and Learning
- 2. Students’ Evaluation
2.1 Workload While Studying
2.2 Extra-curricular Activities and Work
2.3 Activities during your study and their work benefits
2.4 Evaluation
3. Resources and facilities
หลักสูตรภาคพิเศษ
1.1 Curriculum and courses
1.2 Course contents and work requirements
1.3 Teaching and Learning
2. Students’ Evaluation
2.1 Workload While Studying
2.2 Extra-curricular Activities and Work
2.3 Activities during your study and their work benefits
2.4 Evaluation
3. Resources and facilities
จุดแข็ง
– Teaching practicum is the strength of this programme in a way that we have stage to practice what we’ve learnt.
- Research Methodology.
- Very strong curriculum in terms of academic & non-academic
- The programme is relevant to my interest; English language
– teaching Moreover, the course are also beneficial for students who would like to be a teacher.
– The programme is very strength, I got many idea of teaching.
- It is quite helpful for a candidate to become a well-qualified teacher.
- There are appropriate numbers of students. Everybody can discuss and work collaboratively.
จุดอ่อน
– A lot of activities.
- If would be better if everyone can learn intercultural language teaching.
โดยภาพรวมเกี่ยวกับข้อมูลพื้นฐานทั่วไปพบว่า มหาบัณฑิตคณะศิลปศาสตร์ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2559 ในหลักสูตรภาคปกติและภาคพิเศษเสาร์อาทิตย์ จำนวน 15 คน ส่วนใหญ่ใช้เวลาในการศึกษาที่คณะศิลปศาสตร์โดยเฉลี่ย 2 ปี/คน ส่วนใหญ่ทำงานในสถาบันการศึกษาของรัฐ ในตำแหน่งอาจารย์ประจำ สาขาวิชาทางด้านภาษาอังกฤษ โดยยังไม่ได้เข้าศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น และเนื่องจากอยู่ในช่วงการเริ่มต้นการทำงาน จึงยังไม่ปรากฏว่ามีผลงานดีเด่นในการทำงาน สำหรับความคิดเห็นจากผู้สำเร็จการศึกษา แยกเป็นด้านต่างๆ ได้ดังนี้ คือ นักศึกษาได้มีโอกาสฝึกปฏิบัติจริงจากการไปฝึกสอน 1 ภาคการศึกษา รวมถึงมีการใช้ภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตรการเรียน โดยอาจารย์ผู้มีความรู้ความสามารถทั้งด้านวิชาการ และวิธีการถ่ายทอดความรู้ ตลอดจนมีหลักสูตรรายวิชาที่เข้มข้น น่าสนใจ มีเป้าหมายชัดเจน สอดคล้องและตอบสนองในการประกอบอาชีพของนักศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการฝึกสอน ด้วยว่ารายวิชาฝึกสอนนี้ได้ช่วยเสริมสร้างประสบการณ์ทำงานด้านการสอน และการวัดผล นอกจากนี้ยังสามารถนำความรู้มาบูรณาการในการทำงานวิจัย รวมถึงการนำมาพัฒนาความคิด พัฒนาตนเองสู่สังคมและส่วนรวม
ปัญหาในขณะเรียนและการทำวิจัย
การปรับตัวให้เข้ากับระบบการเรียนนั้น พบว่าผู้เรียนจะประสบปัญหาในภาคการศึกษาแรกเท่านั้น หลังจากที่ได้รับคำปรึกษาจากอาจารย์ประจำชั้นปี และอาจารย์ผู้สอน ก็จะมีพัฒนาการไปในทางที่ดีขึ้นในภาคการศึกษาต่อไป ส่วนทางด้านการทำงานวิจัย สายวิชาได้พยายามสั่งซื้อหนังสือ และวารสารต่างๆ เข้ามาเป็นจำนวนมาก และได้พยายามแนะนำวิธีการบริหารจัดการ ทั้งเวลาและการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ให้เพิ่มเติมโดยตลอด ทั้งนี้ ความกังวลนั้นอาจจะมาจากการขาดประสบการณ์ของผู้เรียน และความอดทนซึ่งยังมีไม่มากพอ
สิ่งที่ควรเพิ่มเติม
เพิ่มประสบการในด้านการสอนและการทำวิจัย รวมถึงปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยอยู่เสมอ เหมาะกับการทำงานจริง
11.5.2 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
สายวิชาได้ใช้เครื่องมือประเมิน คือ แบบสอบถามส่งไปยังต้นสังกัดที่บัณฑิตที่จบไปแล้วทำงานอยู่ จำนวน 5 คน แบ่งเป็น ผู้บริหารระดับกลาง 3 คน และผู้บริหารระดับต้น 1 คน และอื่นๆ 1 คน โดยมีผลการประเมินดัง นี้คือซึ่งจะเห็นได้ว่าโดยภาพรวมผู้ใช้บัณฑิตมีความพึงพอใจในความสามารถของผู้ใช้บัณฑิต ดัจะเห็นได้จากคะแนนในแต่ละด้านซึ่งอยู่ในเกณฑ์ดีมากถึงดีที่สุด
Graduate’s Attributes |
mmm | |
Academic and Profession competency | X | Rate opinions |
|
4.2 | Most |
|
4.0 | Much |
|
4.6 | Most |
|
4.4 | Most |
|
4.2 | Much |
|
4.4 | Most |
Summary | 4.30 | Most |
Analyzing skills and systematic problem solving | X | Rate opinions |
|
3.8 | Much |
|
3.8 | Much |
|
4.2 | Much |
Summary |
3.93 |
Much |
Language skills, communicative skills and technology application | X | Rate opinions |
10. The graduate has a good command of speaking, listening, reading and writing in Thai. | 4.4 | Most |
11. The graduate has a good command of speaking, listening, reading and writing in at least one foreign language. | 4.6 | Most |
12. The graduate can summarize/ get the main argument of a meeting/conversation correctly. | 4.0 | Much |
13. The graduate has good communication skills and can transfer knowledge effectively. | 4.2 | Much |
14. The graduate has courteousness, and applies it appropriately in speaking and listening. | 4.4 | Most |
15. The graduate has a good command of computer skills eligible for performing his/her work. | 4.2 | Much |
16. The graduate can use communication technology e.g. e-mail. | 4.6 | Most |
17. The graduate can apply technology to improve his/her work e.g. interpreting and analyzing data. |
4.6 | Most |
Summary |
4.38 | Most |
Learning development and continuing education | X | Rate opinions |
18. The graduate always keeps pace with information, news and technology advancement related to his/her work. | 4.2 | Much |
19. The graduate is interested in updating knowledge by always attending meetings, seminars and workshops related to his/her work. | 4.0 | Much |
20. The graduate employs the knowledge and skills gained from workshops, seminars and trainings in his/her work. | 4.2 | Much |
Summary |
4.13 | Much |
Leadership | X | Rate opinions |
21. The graduate has a good personality. | 4.4 | Most |
22. The graduate dares to voice opinions. | 4.0 | Much |
23. The graduate is compromising. | 4.6 | Most |
24. The graduate is willing to face problems. | 4.6 | Most |
25. The graduate can make decision based on reasons. | 4.00 | Much |
Summary |
4.32 | Most |
Human relations and environmental adaptability | X | Rate opinions |
26. The graduate is friendly, polite and modest. | 5 | Most |
27. The graduate cordially listens to others’ opinions. | 5 | Most |
28. The graduate is helpful and generous, ready to help his/her colleagues. | 5 | Most |
29. The graduate can adapt him/herself to work environment and colleagues. | 4.8 | Most |
30. The graduate is accepted among his/her colleagues. | 4.8 | Most |
Summary |
4.92 | Most |
Morals and ethics | X | Rate opinions |
31. The graduate is honest. | 4.8 | Most |
32. The graduate has morals and ethics. | 4.8 | Most |
33. The graduate has work ethics. | 4.6 | Most |
34. The graduate has responsibility, dedicating for his/her work. | 4.6 | Most |
Summary |
4.70 | Most |
Social responsibility | X | Rate opinions |
35. The graduate abides by the workplace/social regulations. | 4.8 | Most |
36. The graduate devotes his/her physical capability and money for work/society. | 4.6 | Most |
37. The graduate holds onto the benefits of his/her organization and society. | 4.8 | Most |
Summary | 4.73 | Most |
Overall satisfaction of the graduate | 3.6 | Much |
As a whole, Employer’s Satisfaction of SOLA’s Graduates | 4.43 | Most |
จุดเด่น
– มีความสามารถด้านวิชาการ และมีความเป็นครู
– ทำงานด้วยความตั้งใจ มีการวางแผนก่อนทำงาน ใช้หลักจิตวิทยาวิเคราะห์นักเรียนเพื่อเตรียมการสอน
– มีความสามารถด้านวิชาการ และมีความตั้งใจในการทำงาน
– มีความมั่นใจในตนเอง ขยันตั้งใจทำงาน
– สามารถปรับตัวร่วมงานกับผู้อื่นได้ดี
– กล้าแสดงความคิดเห็น มีน้ำใจ ใฝ่เรียนรู้ มีความรับผิดชอบสูง
– คิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ด้านเทคโนโลยี กล้าแสดงความคิดเห็น มีมนุษยสัมพันธ์
จุดอ่อน ควรฝึกให้นักศึกษามีความกล้าและมีความเป็นผู้นำให้มากกว่านี้
เอกสารอ้างอิง
- AUN 6.10 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจการทำงานบุคลากร 57 / 58 / 59
- AUN 7.5 ผลประเมินความพึงพอใจ สายสนับสนุน 2559
- 8.1 ข้อมูลผลงานตีพิมพ์เผยแพร่นักศึกษาระดับบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ 2559
- AUN 8.7 Academic Interview ELT
- AUN 11.1 Pass-Droprates Criterion 11
- AUN 11.2 จำนวนและร้อยละผู้สอบผ่าน Criterion 11
- AUN 11.3 แบบประเมินความพึงพอใจต่อหลักสูตรของบัณฑิต ELT
- AUN 11.4 แบบประเมินนายจ้าง ELT
- AUN 11.5 ผลประเมินความพึงพอใจหอพักนักศึกษา 2557 – 2559